กัมปนาท เบ็ญจนาวี

กัมปนาท เบ็ญจนาวี

นักศึกษา ( )

อาจารย์ที่ปรึกษา

ศ.ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี

หลักสูตรที่กำลังศึกษา

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

-

ประวัติการศึกษา

-2554-2559 รัฐศาสตรบัณฑิต (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
-2557-2559 รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์การเมืองและบริหารจัดการ) คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
-2553-2556 รัฐศาสตรบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์การเมือง) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ความสนใจทางวิชาการ

มานุษยวิทยาเศรษฐกิจ การจัดการทรัพยากร นิเวศวิทยาการเมือง การศึกษาผู้อยู่ในสถานะรอง ชนบทศึกษา

หัวข้อวิทยานิพนธ์

งานวิจัย

กัมปนาท เบ็ญจนาวี. (2566). เมื่อชีวิตเกษตรกรแขวนอยู่บนเส้นด้าย: การปิดล้อมใหม่และความไม่แน่นอนที่ถูกสร้างขึ้นในพื้นที่หลังบ้านอีอีซี. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 35(1): 63-113.
Kampanart Benjanavee. (2022). ‘From the Hinterland to the Backyard of the EEC: Land Capitalization in Eastern Thailand,’ In 14th International Conference on Thai Studies, Center for Southeast Asian Studies, Kyoto University.
กัมปนาท เบ็ญจนาวี. (2563). การกีดกันจากที่ดินภายใต้วาทกรรมตลาด กับการต่อรองเพื่อการอ้างสิทธิ์เหนือที่ดินในจังหวัดนครนายก. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 8(2): 130-150.
กัมปนาท เบ็ญจนาวี. (2562). อุตสาหกรรมในฐานะจักรกลในการขับเคลื่อน: ข้อเสนอการพัฒนาอุตสาหกรรมพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกในมุมมองของภาคเอกชน. ใน รัฐปั่นป่วน: กระแสการเมือง ระบบโลก และการบริหารภาครัฐในยุค Disruption (248-266). ชลบุรี: คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
กัมปนาท เบ็ญจนาวี. (2561). ชนชั้นเสี่ยงในเมืองท่องเที่ยว: กรณีศึกษาพนักงานจัดเก็บขยะของเทศบาล. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 6(1): 95-117.
วีระ หวังสัจจะโชค และกัมปนาท เบ็ญจนาวี. (2560). การมีส่วนร่วมในยุทธศาสตร์ชาติกับการปฏิรูปรัฐธรรมนูญ : ถอดบทเรียนประเทศโคลัมเบีย และมอลโดวา กับการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติของไทย. ใน ประชาธิปไตยไทย: ความท้าทายใหม่ อุดมคติ สิ่งที่เป็นจริง และสิ่งที่อยากเห็น (267-288). กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ธัชชนก สัตยวินิจ และกัมปนาท เบ็ญจนาวี. (2559). ชาวไทยเชื้อสายเวียดนามในจังหวัดนครพนมหลังยุคสร้างความเป็นชาติเวียดนาม: วิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์การเมือง. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ภาษาและวัฒนธรรม 2559 เรื่อง ‘การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม: อนาคตและความท้าทายของประเทศไทย’ (264-278), สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล.
หัวหน้าโครงการวิจัยย่อยเรื่อง “เกษตรกรบนหนทางของความไม่แน่นอน: จากการเปลี่ยนที่ดินให้กลายเป็นทุนสู่ยุทธศาสตร์การดำรงชีพของเกษตรกรเพื่อรับมือกับความไม่แน่นอน.” ภายใต้ชุดโครงการวิจัย “ฝ่าภาวะความไม่แน่นอน: การดำรงอยู่ในห้วงเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย.” แหล่งทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประเภททุนส่งเสริมกลุ่มวิจัย (เมธีวิจัยอาวุโส) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 [ร่วมกับ ศาสตราจารย์ ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี, หัวหน้าชุดโครงการวิจัย]
นักวิจัยร่วมของโครงการวิจัยเรื่อง ‘ทางเลือกการพัฒนาอุตสาหกรรมพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกในมุมมองของรัฐ เอกชนและภาคประชาชน’ แหล่งทุนวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 [ร่วมกับ ดร.ชัยณรงค์ เครือนวน และจิรายุทธ์ สีม่วง, นักวิจัยร่วมโครงการ].


ช่องทางการติดต่อ

kampanart18@gmail.com
-