ผศ.ดร.วิจิตร ประพงษ์
ผศ.ดร.วิจิตร ประพงษ์
อาจารย์ประจำภาควิชา
ประวัติการศึกษา
- Ph.D. (Sociology), Paris Descartes University, France, 2017
- Master's Degree (Sociology), Pierre Mendès-France University, France, 2011
- Bachelor's Degree (Sociology), Pierre Mendès-France University, France, 2009
ความสนใจทางวิชาการ
Clandestinity, French Sociology Theory, Marginality, Migration, Social Inequality
ผลงานทางวิชาการ (บางส่วน)
วิจิตร ประพงษ์. (2562). “ชีวิตลับลอบในเมืองใหญ่ ปารีสและเชียงใหม่ในมุมที่เราไม่ค่อยได้เห็น”. ใน วสันต์ ปัญญาแก้ว (บก.). หลากชีวิตที่ยังไม่เคยเห็น: นักกีฬาสมัยอยุธยา/ เญือะและเครือญาติ/ ไทยและไทใหญในสภาวะลับลอบ. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วิจิตร ประพงษ์. (2561). “การย้ายถิ่นแบบชั่วคราวแต่ยาวนานของแรงงานไทยแบบผิดกฎหมายในฝรั่งเศส” [Long-Lasting Temporary Migration of Thai Migrant Workers Living Without Residence Permit in France]. พัฒนศาสตร์. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 1 ฉบับที่ 2.
วิจิตร ประพงษ์. (2560). “การจ้างแรงงานต่างด้าวแบบผิดกฎหมายหรือการโยกย้ายฐานการผลิตแบบอยู่กับที่”. ประชาไทบล็อกกาซีน [เข้าถึงได้ทางออนไลน์]. https://blogazine.pub/blogs/thanon/post/6024
วิจิตร ประพงษ์. (2557). “ปารีสในมุมที่วัลยายังไม่เห็น: รำลึกความรักของวัลยาและการจากไปของเสนีย์ เสาวพงศ์”. ประชาไทบล็อกกาซีน [เข้าถึงได้ทางออนไลน์]. https://blogazine.pub/blogs/thanon/post/5147
วิจิตร ประพงษ์. (2556). “ระบบการศึกษา โอกาสอันเท่าเทียม และความรุนแรงเชิงสัญลักษณ์”. มติชนออนไลน์ [เข้าถึงได้ทางออนไลน์]. http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1359613803 Link สำรองที่ ประชาไทบล็อกกาซีน: https://blogazine.pub/blogs/thanon/post/6295
วิจิตร ประพงษ์. (2555). “จากปราสาทถึงพุทธศาสนสถาน: วัดไทย ณ กรุงปารีสในสายตาสังคมวิทยา” [From Castle to Buddhist Sanctuary: Thai Temple in Paris through Sociological Perspective]. ยุโรปศึกษา [European Studies]. กรุงเทพฯ: ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [Center for European Studies of Chulalongkorn University]. ปีที่ 20 ฉบับที่ 1.
วิจิตร ประพงษ์. (2564). “แรงงานอารมณ์หนุ่มข้ามชาติ: การต่อรองความเป็นชายและการสั่นคลอนความหมายอาชีพขายบริการทางเพศ”. ใน เสียงที่ไม่ได้ยิน: อารมณ์และความหวังในพื้นที่ความรู้, อานันท์ กาญจนพันธ์, บรรณาธิการ. เชียงใหม่: โครงการการสร้างพื้นที่ความรู้ฯและภาควิชาสังคมวิทยาฯ ม.เชียงใหม่.
วิจิตร ประพงษ์ (บรรณาธิการ). (2563). ความ(ไม่)เป็นหญิง ความ(ไม่)เป็นชาย ความ(ไม่)เป็นคน. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาฯ ม.เชียงใหม่.
วิจิตร ประพงษ์. (2563). “ตลาดนี่นี้ใครครอง: การต่อรองพื้นที่สิทธิในตลาดของผู้ค้าเร่ไทใหญ่.” ใน จุดตัดของเรื่อง “ต้องห้าม” ในพื้นที่ความรู้, อานันท์ กาญจนพันธ์, บรรณาธิการ. เชียงใหม่: โครงการการสร้างพื้นที่ความรู้ฯและภาควิชาสังคมวิทยาฯ ม.เชียงใหม่.
ที่ตั้งห้องทำงาน
อาคาร 3 ชั้น 3 คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หนังสือวิชาการเผยแพร่
“จากปราสาทถึงพุทธศาสนสถาน : วัดไทย ณ กรุงปารีส ในสายตาสังคมวิทยา” ใน วารสารยุโรปศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
ผศ.ดร.วิจิตร ประพงษ์
การย้ายถิ่นแบบชั่วคราวแต่ยาวนานของแรงงานไทยแบบผิดกฎหมายในฝรั่งเศส
ผศ.ดร.วิจิตร ประพงษ์
"ชีวิตลับลอบในเมืองใหญ่ ปารีสและเชียงใหม่ในมุมที่เราไม่ค่อยได้เห็น" ใน หลากชีวิตที่ยังไม่เคยเห็น: นักกีฬาสมัยอยุธยา/ เญือะและเครือญาติ/ ไทยและไทใหญ่ในสภาวะลับลอบ
ผศ.ดร.วิจิตร ประพงษ์
ความ(ไม่)เป็นหญิง ความ(ไม่)เป็นชาย ความ(ไม่)เป็นคน
ผศ.ดร.วิจิตร ประพงษ์
จุดตัดของเรื่อง "ต้องห้าม" ในพื้นที่ความรู้
ศ.เกียรติคุณ ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์
“แรงงานอารมณ์หนุ่มข้ามชาติ: การต่อรองความเป็นชายและการสั่นคลอนความหมายอาชีพขายบริการทางเพศ”. ใน เสียงที่ไม่ได้ยิน: อารมณ์และความหวังในพื้นที่ความรู้
ผศ.ดร.วิจิตร ประพงษ์