• #1 ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

  • #2 ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รับสมัครนศ.โท-เอก

  • #3 คุณสาลาม๊ะ หลงสะเตียะได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น

แนะนำภาควิชา

ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาคณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นและเริ่มเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนมาพร้อมๆกับการสถาปนามหาวิทยาลัยเชียงใหม่วันแรกของห้องเรียนคือ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2507 มีนักศึกษารุ่นนั้น14คนด้วยกัน

สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เป็นความรู้แบบใหม่ที่พัฒนาขึ้นมาจากบริบทประวัติศาสตร์พัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงในสังคมยุโรปตะวันตก ถือเป็นสาขาวิชาใหม่และเวลานั้นแทบไม่เป็นที่รู้จักกันในสังคมไทย ในช่วงเริ่มระยะแรกของการเรียนการสอน กระบวนวิชาและหลักสูตรระดับปริญญาตรีของภาควิชาสังคมวิทยาฯ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงเกือบจะเป็นแบบเดียวกันกับหลักสูตรที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยของสหรัฐอเมริกา (ในเวลานั้น)

อ่านทั้งหมด

บริการของเรา


ผู้สนใจเข้าศึกษาต่อ

อ่านเพิ่ม

โครงการแลกเปลี่ยนและทุนการศึกษา

อ่านเพิ่ม

รายชื่อวิทยานิพนธ์

อ่านเพิ่ม

หนังสือวิชาการเผยแพร่

อ่านเพิ่ม

สื่อเพื่อการเรียนรู้

อ่านเพิ่ม

ระดับบัณฑิตศึกษา

อ่านเพิ่ม

หนังสือวิชาการเผยแพร่


"มาร์กซิสต์ร่วมสมัย" ใน มานุษยวิทยาที่ปรากฏ: 40 มโนทัศน์ร่วมสมัย อ.นันทวัฒน์ ฉัตรอุทัย
"ปรากฏการณ์วิทยา" ใน มานุษยวิทยาที่ปรากฏ: 40 มโนทัศน์ร่วมสมัย รศ.ดร.เก่งกิจ กิติเรียงลาภ
"เพศภาวะศึกษา" ใน มานุษยวิทยาที่ปรากฏ: 40 มโนทัศน์ร่วมสมัย ศ.ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี
ฉันทามติรัฐสวัสดิการ รศ.ดร.เก่งกิจ กิติเรียงลาภ
ชาร์ล คายส์ มิตรสนิทของชาวไทย รศ.ดร.วสันต์ ปัญญาแก้ว
ภูมิปัญญาเชิงนิเวศของนากาใน Son of the Thundercloud ของอีสเทอรีน คิรี รศ.ดร.เก่งกิจ กิติเรียงลาภ
แนะนำหนังสือ ตำนานพระเจ้าเลียบโลก ฉบับสิบสองปันนา รศ.ดร.วสันต์ ปัญญาแก้ว
ตำนานพระเจ้าเลียบโลก ฉบับสิบสองปันนา รศ.ดร.วสันต์ ปัญญาแก้ว
โครงการการเคลื่อนย้ายข้ามแดนของ คน สินค้า และข่าวสาร ในบริบทของการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ: รายงานฉบับสมบูรณ์ รศ.ดร.วสันต์ ปัญญาแก้ว
Coping with Deceleration: Cities, Mobility, and Temporal Politics in the Time of COVID-19 Pandemic ศ.ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี
On resistance and pluriversal voices of subversive archaism ศ.ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี
รื้อ ถอน สภาวะ อาณานิคม และ การ สร้าง โลก ผ่าน การ เล่า ซ้ำ ปรัมปรา ใน วรรณกรรม ของ Easterine Kire รศ.ดร.เก่งกิจ กิติเรียงลาภ