• #1 ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

  • #2 ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รับสมัครนศ.โท-เอก

  • #3 คุณสาลาม๊ะ หลงสะเตียะได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น

แนะนำภาควิชา

ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาคณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นและเริ่มเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนมาพร้อมๆกับการสถาปนามหาวิทยาลัยเชียงใหม่วันแรกของห้องเรียนคือ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2507 มีนักศึกษารุ่นนั้น14คนด้วยกัน

สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เป็นความรู้แบบใหม่ที่พัฒนาขึ้นมาจากบริบทประวัติศาสตร์พัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงในสังคมยุโรปตะวันตก ถือเป็นสาขาวิชาใหม่และเวลานั้นแทบไม่เป็นที่รู้จักกันในสังคมไทย ในช่วงเริ่มระยะแรกของการเรียนการสอน กระบวนวิชาและหลักสูตรระดับปริญญาตรีของภาควิชาสังคมวิทยาฯ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงเกือบจะเป็นแบบเดียวกันกับหลักสูตรที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยของสหรัฐอเมริกา (ในเวลานั้น)

อ่านทั้งหมด

บริการของเรา


ผู้สนใจเข้าศึกษาต่อ

อ่านเพิ่ม

โครงการแลกเปลี่ยนและทุนการศึกษา

อ่านเพิ่ม

รายชื่อวิทยานิพนธ์

อ่านเพิ่ม

หนังสือวิชาการเผยแพร่

อ่านเพิ่ม

สื่อเพื่อการเรียนรู้

อ่านเพิ่ม

ระดับบัณฑิตศึกษา

อ่านเพิ่ม

หนังสือวิชาการเผยแพร่


บทที่ 6 สภาวะแขวนลอยทางสังคมของครอบครัวจีนข้ามชาติในเชียงใหม่ ใน ใต้เงามังกร 2 ผศ.ดร.กนกวรรณ สมศิริวรางกูล
บทที่ 5 ผลกระทบของธุรกิจอีคอมเมิร์ชจีนข้ามแดนต่อผู้ประกอบการไทย ใน ใต้เงามังกร 2 รศ.ดร.อรัญญา ศิริผล
บทที่ 4 บริษัทชิปปิ้งจีน: ถนน สะพาน รางรถไฟ และผู้ประกอบการจีนรุ่นใหม่ในธุรกิจข้ามพรมแดน ใน ใต้เงามังกร 2 อ.ผานิตดา ไสยรส
ใต้เงามังกร : การขยายอิทธิพลทุนจีนในไทยและอุษาคเนย์ เล่ม 1 และเล่ม 2 ศ.เกียรติคุณ ดร.ยศ สันตสมบัติ
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การท่องเที่ยวเชิงเกษตร: ฟาร์มสเตย์และการจัดการทรัพยากรผู้สูงวัยในไทยและญี่ปุ่น ผศ.ดร.กนกวรรณ สมศิริวรางกูล
ความรุนแรง สงคราม กีฬา และรัฐล้านนาสมัยราชวงศ์มังราย ผศ.ดร.ชาญ พนารัตน์
Future: ว่าด้วยเวลา ประวัติศาสตร์กับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในระบบทุนนิยมดิจิทัล รศ.ดร.เก่งกิจ กิติเรียงลาภ
วัฒนธรรมความรุนแรงและกีฬาสมัยจารีตในล้านนาสมัยราชวงศ์มังราย ผศ.ดร.ชาญ พนารัตน์
บนทางสู่อารยะ: สังคมวิทยาและประวัติศาสตร์ในทัศนะของ Norbert Elias ผศ.ดร.ชาญ พนารัตน์
พิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน: แนวทางการจัดตั้งและความเป็นไปได้ การมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ในการจัดการวัฒนธรรม รศ.ดร.วสันต์ ปัญญาแก้ว
“Women’s Studies: Building situated knowledge in the politics of gender” ใน Stance, Women's Studies Center, Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University, 6(1), 17-31. อ.ดร.สุนทรีย์ สิริอินต๊ะวงศ์
บทนำ ใน "เสียงที่ไม่ได้ยิน อารมณ์และความหวังในพื้นที่ความรู็" ศ.เกียรติคุณ ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์