• #1 ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

  • #2 ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รับสมัครนศ.โท-เอก

  • #3 คุณสาลาม๊ะ หลงสะเตียะได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น

แนะนำภาควิชา

ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาคณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นและเริ่มเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนมาพร้อมๆกับการสถาปนามหาวิทยาลัยเชียงใหม่วันแรกของห้องเรียนคือ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2507 มีนักศึกษารุ่นนั้น14คนด้วยกัน

สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เป็นความรู้แบบใหม่ที่พัฒนาขึ้นมาจากบริบทประวัติศาสตร์พัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงในสังคมยุโรปตะวันตก ถือเป็นสาขาวิชาใหม่และเวลานั้นแทบไม่เป็นที่รู้จักกันในสังคมไทย ในช่วงเริ่มระยะแรกของการเรียนการสอน กระบวนวิชาและหลักสูตรระดับปริญญาตรีของภาควิชาสังคมวิทยาฯ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงเกือบจะเป็นแบบเดียวกันกับหลักสูตรที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยของสหรัฐอเมริกา (ในเวลานั้น)

อ่านทั้งหมด

บริการของเรา


ผู้สนใจเข้าศึกษาต่อ

อ่านเพิ่ม

โครงการแลกเปลี่ยนและทุนการศึกษา

อ่านเพิ่ม

รายชื่อวิทยานิพนธ์

อ่านเพิ่ม

หนังสือวิชาการเผยแพร่

อ่านเพิ่ม

สื่อเพื่อการเรียนรู้

อ่านเพิ่ม

ระดับบัณฑิตศึกษา

อ่านเพิ่ม

หนังสือวิชาการเผยแพร่


ทุนนิยมจีนในอุษาคเนย์ ศ.เกียรติคุณ ดร.ยศ สันตสมบัติ
แรงงาน ระบบสุขภาพ และการจัดการ : การจัดการและการร่วมรังสรรค์พื้นที่ชายแดนในบริบทการพัฒนาชายแดนเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนและภูมิภาคนุวัตน์ลุ่มน้ำโขง รศ.ดร.อรัญญา ศิริผล
ปฏิบัติการศาสนา ทุนจิตวิญญาณกับการเมืองวัฒนธรรมจีนในชายแดนไทยภาคเหนือ รศ.ดร.อรัญญา ศิริผล
ชนบทศึกษาในสังคมวิทยาความรู้ ศ.เกียรติคุณ ดร.จามะรี เชียงทอง
คน/ช้าง/การเคลื่อนย้าย และชีวิตเร่ร่อนในโลกสมัยใหม่ ใน วารสารสังคมศาสตร์ รศ.ดร.วสันต์ ปัญญาแก้ว
พัฒนาการการควบคุมพฤติกรรมก้าวร้าวในรัฐสยาม ใน วารสารสังคมศาสตร์ ผศ.ดร.ชาญ พนารัตน์
China in Laos: Enclave spaces and the transformation of borders in the Mekong Region ในวารสาร The Australian Journal of Anthropology ศ.ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี
เขียนชนบทให้เป็นชาติ รศ.ดร.เก่งกิจ กิติเรียงลาภ
"โลก ความจริง และการเมือง: ภววิทยาแห่งความหลากหลายและโลกกับการเปลี่ยนโลกในความคิดของอแล็ง บาดิยู" ใน On Truth ว่าด้วยความจริง รศ.ดร.เก่งกิจ กิติเรียงลาภ
คาสิโนชายแดน รศ.ดร.วสันต์ ปัญญาแก้ว
CONATUS ชีวิตและอำนาจควบคุมชีวิตในระบบทุนนิยมแห่งศตวรรษที่ 21 รศ.ดร.เก่งกิจ กิติเรียงลาภ
การย้ายถิ่นแบบชั่วคราวแต่ยาวนานของแรงงานไทยแบบผิดกฎหมายในฝรั่งเศส ผศ.ดร.วิจิตร ประพงษ์